วันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2554

โปรแกรมPhotoshop

ผู้นำเสนอ
1.ด.ญ.สุวรรณี   เอียดเหล็น
2.ด.ญ.ศราวัสดี   ดาสิน




                                     เป็นภาพตัดต่อที่ผู้นำเสนอPhotoshop ได้จัดทำขึ้นมา         

โปรแกรมPower Point

ผู้นำเสนอ
1.ด.ญ.จรพร   มีศิลป์

โปรแกรมPublisher

ผู้นำเสนอ
1.ด.ญ.เบญจมาพร   หยังหลัง
2.ด.ญ.อัญชลีพร    จันทร์ทอง

โปรแกรมWeblog หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ผู้นำเสนอ
1.ด.ช.ธีระยุทธ   แก้วดี

 สามารถเข้าชมเว็บได้ที่นี้ค่ะ
http://nepenthes-trang.blogspot.com/

โปรแกรมFlash

ผู้นำเสนอ
1.ด.ช.เกียรติศักดิ์   แก้วศรี
2.ด.ญ.มานิตา   รอดเพชร

โปรแกรมPhoto Scape

ผู้นำเสนอ
1.ด.ช.ชนัญญู    จิตร์แหง




        เป็นภาพที่ผู้นำเสนอโปรแกรม Photo  Scape ได้จ้ดทำขึ้นมา

โปรแกรมSketch up7

ผู้นำเสนอ
1.น.ส.รัชนก   วุ่นคง
2.น.ส.คนึงนิตย์   จิตบุญ

งานเหล็ก

ผู้นำเสนอ
1.ด.ช.สิทธิพงษ์   ทองเหมือน
2.ด.ช.ยศกร  ไชยรัตน์
3.ด.ช.ปฎิพล   ใจตรง
4.ด.ช.ณัฐพล   ณะสงค์
5.ด.ช.นัทพงศ์   สูเหตุ
6.ด.ช.อภินันท์   ทิพย์จันทา
  ครูที่ปรึกษา
1.นายนิพนธ์   เขียดแก้ว

งานช่าง

ผู้นำเสนอ
1.ด.ช.นนธวัช   พากเพิ่ม
2.ด.ช.พรเจตน์  โสภานิช
3.ด.ช.อภิสิทธิ์   นิยมแก้ว
4.ด.ช.วงศกร   แก้วเพ็ง
5.ด.ช.ณัฐพงษ์  เอ็มบุตร
6.ด.ช.รัชสารช์   วุ่นคง

วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554

ขยายพันธุ์พืชโดยการต่อกิ่งเสียบยอดตอนที่1

ผู้นำเสนอ
1.ด.ช.ภราดร  ชูหาร
2.ด.ช.ธนพล  แป้นไทย
  ครูที่ปรึกษา
1.นายสุนทร   นาศรี
                                              
                                                               การขยายพันธุ์พืชโดยการต่อกิ่ง 
การขยายพันธุ์พืชโดยการต่อกิ่ง  หมายถึง  การนำกิ่งพันธุ์ดีมาต่อกับต้นตอ  เพื่อให้เนื้อเยื่อเจริญทั้งสองเชื่อมประสานเป็น   ต้นเดียวกัน   โดยใช้เทคนิคในการต่อกิ่งแบบต่าง ๆ
      การต่อกิ่ง    มี  3  วิธี  ได้แก่  การต่อกิ่งแบบเสียบลิ่ม  การต่อกิ่งแบบเสียบข้าง   การต่อกิ่งแบบเสียบเปลือก  แต่ที่ได้รับความนิยม  คือการต่อกิ่งแบบเสียบข้าง




วิธีง่ายๆในการเลี้ยงหม้อข้าวหม้อแกงลิงตอนที่1

ผู้นำเสนอ
1.ด.ช.วัชรพงษ์  ขวัญเพ็ชร ชั้นม.3/2
2.ด.ช.เอกพจน์  บุญรินทร์  ชั้นม.3/2
 ครูที่ปรึกษา
1.นายสุนทร  นาศรี

วิธีง่าย ๆ กับการปลูก
ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง

หม้อข้าวหม้อแกงลิง  (Nepenthes)  มาจากภาษกรีก   (Ne = ไม่) (Penthos= โศกเศร้า เสียใจ )
 ลักษะทั่วไป  : เป็นพืชใบเลี้ยงคู่  อยู่ในวงศ์  Nepenthaceae   เป็นไม้เถาเลื้อย กินสัตว์พวกแมลงเป็นอาหาร  พบในเขตร้อนชื้น ในที่ลุ่มที่มีความชื้น  ภูเขา ได้แก่  ไทย  จีน  มาเลเซีย ฟิลิปปินส์  ออสเตรเลีย อินเดีย  อังกฤษ  ประเทศไทยพบได้ทุกภาค
ต้น : เป็นไม้เถาเลื้อย  มีระบบรากที่ตื้น สั้น   สูงได้หลายเมตร 
ใบ : ใบยาว ปลายใบเป็นกระเปาะคล้ายเหยือก  กระเปาะเมื่อยังอ่อนฝาจะปิด  เมื่อกระเปาะแก่ ฝาจะเปิด  มีกระเปาะหลายสี   เช่น  สีเขียว  สีน้ำตาลอมแดง  และสีเขียวปนแดงเรื่อย ๆ  ภายในกระเปาะมีขน  ป้องกันแมลงที่ตกลงไป ไม่ให้ขึ้นกลับมาได้  อีกทั้งผิวกระเปาะยังมีรูเล็ก ๆ จำนวนมาก  ปล่อยน้ำย่อยออกมาขังไว้ในกระเพื่อย่อยสลายแมลงเป็นอาหาร
ดอก : ออกดอกเป็นช่อ ตามส่วนยอดของลำต้น  ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่กันคนละต้น
ฝักและผล ; เป็นฝักที่มีเมล็ดเป็นจำวนมากอยู่ภายใน
ฤดูกาลออกดอก  ; เดือนพฤษภาคม-เดือนสิงหาคม
การขยายพันธุ์
1.  ปักชำโดยการแยกกอ
2.  เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
3.  เพาะเมล็ด

สวนถาดแห้ง/ถาดทะเลทรายตอนที่1

ผู้นำเสนอ
1.ด.ญ.ศุภกานต์   คงรักษ์ ชั้นม.2/1
2.ด.ญ.ณัฐวดี   ทองโอ  ชั้นม.1/1
  ครูที่ปรึกษา
1.นายสุนทร  นาศรี

การจัดสวนถาดแห้ง

สวนถาด หมายถึง  การจัดจำลองทิวทัศน์ธรรมชาติโดยการย่อส่วนหรือการจัดปลูกพืชให้เกิดความงามโดยใช้หลักศิลปะลงในภาชนะตื้นปากกว้างหรือแบน
รูปแบบของสวนถาด 
มี  2  ประเภท คือ
1.  รูปแบบที่มีเนื้อหาหรือเรื่องราวของธรรมชาติ เช่น ทิวทัศน์ทางทะเล ป่าเขา  น้ำตก หรือทะเลทราย
2. รูปแบบที่ไม่แสดงเนื้อหาตามธรรมชาติแต่ใช้หลักเกณฑ์ขององค์ประกอบของศิลปะ 


การแบ่งตามประเภทของพันธุ์ไม้ที่ใช้จัด  แบ่งได้ 3  ประเภท
1.  สวนถาดที่ใช้พันธุ์ไม้กลางแจ้ง ได้แก่  บอนไซ
2.  สวนถาดที่ใช้พันธุ์ไม้ในร่มหรือทนต่อร่ม
3.  สวนถาดที่ใช้พันธุ์ไม้พวกแคคตัสและไม้อวบน้ำ มักเป็นทิวทัศน์ทางทะเลทราย  เข้ากลุ่มแสดงเป็นเรื่องราวธรรมชาติ

สวนถาดชื้นตอนที่1

ผู้นำเสนอ
1.ด.ญ.ปาริชาติ  เพชรพรหม ชั้นม.2/1
2.ด.ญ.วริษา   อิสโม  ชั้นม.2/1
3.ด.ญ.กมลวรรณ  เพ็งสุข  ชั้นม.2/1
 ครูที่ปรึกษา
นายสุนทร  นาศรี
 
การจัดสวนถาดชื้น  เป็นศิลปะการจัดตกแต่งที่มีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศญี่ปุ่น  ในการทำไม้ดัดไม้แคระ (bonsai) ซึ่งเป็นการย่อส่วนธรรมชาติให้เล็กลง  เหมาะสมกับภาชนะ  แต่คำนึงถึงความเป็นธรรมที่สวยงาม  ได้สัดส่วน

 

การจัดสวนหย่อมในร่ม/ในอาคารตอนที่1

ผู้นำเสนอ
1. เด็กชายณัฐดนัย  รอดเพ็ง  ม. 3/2
2. เด็กชายสุทธินนท์   คงเพิ่ม  ม. 3/3
3. เด็กชายศุภชัย   ชูปลอด   ม.  1/3
 ครูที่ปรึกษา
1.นายสุนทร   นาศรี



 
การจัดสวนในบ้าน (สวนหย่อม) หมายถึง การจัดสวนในพื้นที่จำกัด   เพื่อให้เกิดความงามตามธรรมชาติของพันธุ์ไม้   ซึ่งจัดในร่ม  กลางแจ้ง 

ประเภทของการจัดสวนหย่อมของไทย
 1.  การจัดสวนในร่ม
2.  การจัดสวนกลางแจ้ง



การจัดสวนกลางแจ้ง

การจัดสวนในร่ม

การจัดสวนในบ้าน
ในอาคาร



ตุ๊กตาสัตว์

ผู้นำเสนอ1.นางสาวมาริสา  อินทรทอง
2.นางสาวสุดารัตน์  จันทร์สว่าง
3.นางสาวศุภรัตน์  ช่วยเรือง
4.นางสางวิชุตา  อินทรเสนีย์
5.นายคเนศ  สังข์ขาว
6.นายวิษณุ  แย้มใหม่
    ครูที่ปรึกษา
1.ครูเปรมพิชญา ศรีเกตุ
2.ครูรติพร จิตรสิงห์ 
             

 
ความเป็นมา    
          การพับผ้าเช็ดหน้าเป็นศิลปะอย่างหนึ่งของไทย  ซึ่งนิยมพับเป็นดอกไม้และสัตว์  ไว้สำหรับเป็นของที่ระลึกแจกในงานต่างๆ  การพับผ้าในสมัยก่อนเป็นการพับผ้าผืนเดียวโดยไม่ตัด  ไม่ต่อ   ไม่มีการยัดใส้  ไม่มีการเย็บ  เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งาน  แต่ในปัจจุบันงานพับผ้ากลายเป็นของสวยงามสำหรับประดับตกแต่งจึงมีการเย็บ  และนำใยสังเคราะห์มายัดใส้บ้าง  เพื่อให้คงรูปสวยงาม
          ดังนั้น ชุมนุมงานประดิษฐ์จึงได้ศึกษาและประดิษฐ์ตุ๊กตาสัตว์จากผ้าขนหนูชนิดบาง  ซึ่งขอนำเสนอ ตุ๊กตากระต่าย  ซึ่งปีนี้เป็นปีเถาะ 
มีสัญลักษณ์เป็นตัวกระต่าย 

วัสดุ 

1.    ผ้าขนหนูขนาด 12*12 นิ้ว
2.    กาวเอนกประสงค์
3.    ดิ้นสีทอง
4.    ด้าย
5.    พวงกุญแจ
6.    ใยสังเคราะห์หรือสำลี
7.    สีเมจิก
8.    กระพรวน
9.    การบูร
10. บรรจุภัณฑ์

อุปกรณ์
1.   กรรไกร
2.   เข็ม
3.   คีม

ขั้นตอนการทำกระต่าย

1.    ดึงชายผ้าทั้ง 4 มุมให้ตึงเพื่อให้ผ้าขยายตัว
2.    จับมุมผ้า 1 มุมเพื่อทำหูกระต่าย แล้ว
    พันด้วยด้าย ทำเช่นเดิมอีก
    1มุม แล้วนำมาประกบกันแล้วพัน
    ด้วยด้าย
3.    พับผ้าส่วนที่เหลือจากการทำหูซ้อนกัน แล้วพับทบเข้าหาส่วนใบหูกระต่าย
4.    จับผ้าขึ้นห่มปิดรอยผ้าที่พับทบ แล้วเย็บปิดด้านหลังคอ
     5.    จากนั้นแต่งชิ้นงานให้เป็นรูปหน้ากระต่าย แล้วพันด้วยด้าย
6.    นำผ้าส่วนที่เหลือมาห่มทำเป็นตัวกระต่าย เย็บติดตรงคอกระต่าย
7.    จากนั้นนำการบูรพร้อมใยสังเคราะห์ใส่ไว้ด้านในเป็นตัวกระต่าย
8.    จับมุมผ้าที่เหลือ 2 มุม พันมัดเพื่อเป็น ขากระต่าย  แล้วจับผ้าด้านล่างเป็นทำเป็นหาง
9.    เย็บปิดด้านหน้าและด้านล่างให้เรียบร้อย โดยเย็บผ้าส่วนที่เหลือเก็บไว้ด้านใน ไม่ให้มีเศษผ้าเหลือ
10.ตกแต่งด้วยดิ้นทอง ตาสัตว์
     พวงกุญแจและ กระพรวน 

เคล็ดลับ

1.    ผ้าเช็ดหน้าสามารถใช้ได้ทั้งที่มีเนื้อผ้าป่าน  ผ้าลินิน  หรือผ้าขนหนูชนิดบาง  ใหม่และสะอาด  แต่ควรเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น 10x10 นิ้ว 12x12 นิ้ว
2.    ไม่ควรซักผ้าก่อนนำมาประดิษฐ์ชิ้นงาน
3.    หากใช้ผ้าสีขาวต้องระวังเรื่องความสะอาด
4.    ควรล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
5.    ดิ้นทอง และริบบิ้นตกแต่งต้องเลือกสีให้เหมาะสม
6.    การเย็บเก็บชิ้นผ้าต้องเก็บชิ้นผ้าให้หมด  อย่าให้มีส่วนเกินออกมา
7.    การใช้สีด้ายต้องเหมือนกับสีผ้า
8.    การทำตุ๊กตาสัตว์ เน้นความน่ารัก  สดใส
ทำให้เป็นตัวการ์ตูน อาจจะไม่เหมือนตัวจริงก็ได้
9.    ชิ้นงานที่สำเร็จต้องบรรจุถุงพลาสติกเพื่อไม่ให้ฝุ่นเกาะ
10.ควรเพิ่มมูลค่าด้วยการนำวัสดุที่มีกลิ่น
     หอมมาใส่ไว้ด้านใน เช่น การบูร  บุหงา
    ไม้เทพทาโร



    ใบแสดงราคาทุนและราคาจำหน่าย


ที่
รายการประเมินราคา
คิดเป็นเงิน
บาท
ส.ต.
1












ค่าวัสดุ
1.ผ้าขนหนูขนาด 12*12 นิ้ว
2.กาวเอนกประสงค์,ตาสัตว์
3.ดิ้นสีทอง,ด้าย
4.ใยสังเคราะห์
5.การบูร
6.พวงกุญแจ
7.กระพรวน
8. บรรจุภัณฑ์


7

2
1
2
1
2
1
2


รวมรายจ่ายค่าวัสดุ
18

2
ค่าแรงงาน    ตัวละ
2



รวมต้นทุน

20

3
กำไรที่ควรได้รับ
19



รวมราคาขาย  ตัวละ
39

นางสาวมาริสา อินทรทอง
ผู้ประมาณราคา
ตุ๊กตาสัตว์

วันพุธที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2554

ดอกไม้จากเศษวัสดุ

ผู้นำเสนอ
1.นางสาววราภรณ์  ช่วยเรือง
2.นางสาวนิชนันท์  จิสูงเนิน
3.นางสาวอาภรณ์ศิลป์  ช่วยหวัง
4.นางสาวศิริกมล  รักนุ้ย
5.นายยุทธวีระ  คำนนท์
6.นายพันธวิช  โรจนธรรมมณี
  ครูที่ปรึกษา
1.ครูเปรมพิชญา ศรีเกตุ
2.ครูรติพร จิตรสิงห์

ดอกแกลดิโอลัสจากเศษวัสดุ
 
ใบแสดงราคาทุนและราคาจำหน่าย

ที่
รายการประเมินราคา
คิดเป็นเงิน
บาท
ส.ต.
1









ค่าวัสดุ
1.เกสรดอกไม้สำเร็จ
2.ลวดสำเร็จ
3.ด้าย
4.สก็อตเทป
5.ฟลอราเทป

5
2
1
1
2



.50
.50
วัสดุที่ไม่ต้องซื้อ
ถุงพลาสติก
ถุงขนมกรุบกรอบ


รวมรายจ่ายค่าวัสดุ
12

2
ค่าแรงงาน   ช่อละ
10




รวมต้นทุน


22

3
กำไรที่ควรได้รับ

18


รวมราคาขาย  ช่อละ
40

     นางสาวอาภรณ์ศิลป์ ช่วยหวัง 
        ผู้ประมาณราคา

ความเป็นมา    
          ดอกแกลดิโอลัสเป็นดอกไม้เมืองหนาว  ที่มีความสวยงามมีหลากหลายสีสัน  แต่ไม่สามรถเก็บไว้ได้นาน  และทางภาคใต้หาซื้อค่อยข้างยาก
          ดังนั้น ชุมนุมงานประดิษฐ์จึงได้ศึกษาและประดิษฐ์ ดอกแกลดิโอลัสจากเศษวัสดุ  โดยมีถุงพลาสติกเป็นวัสดุหลัก  ซึ่งจะทำให้เก็บไว้ได้นานขึ้น  มีสีสันสวยงามและช่วยลดปริมาณขยะได้
วัสดุ
1.    ถุงพลาสติก
2.    ถุงขนมกรุบกรอบ
3.    ลวดสำเร็จ
4.    ฟลอราเทป
5.    ด้าย
6.    เกสรสำเร็จ
7.    สก๊อตเทป
8.    กระดาษการ์ดสี 

อุปกรณ์
1.    กรรไกร
2.    คลิปสองขา
3.    คีม
4.ผ้าเช็ดหน้า
ขั้นตอนการทำ

1.    ออกแบบลักษณะดอกไม้ที่ต้องการ แล้ววาดและทำต้นแบบที่ต้องการ
2.    เตรียมกลีบดอก  กลีบเลี้ยงใบ  ก้านดอกและก้านใบ
3.    อัดกลีบดอก  กลีบเลี้ยงและใบ
4.    ขั้นตอนการเข้าดอกตูม
-นำลวดสำเร็จสีเขียวยาว 12 เซนติเมตร  มางอปลาย นำกลีบดอกสองกลีบมาเข้ามัดให้แน่น พันก้านด้วยฟลอราเทปจะได้ดอกตูม
-ทำอีก 2 ดอก ใช้กลีบดอกสามกลีบ
5.    ขั้นตอนการเข้าดอกแย้ม
-นำลวดสำเร็จสีเขียวยาว 12 เซนติเมตร  มางอปลาย นำกลีบดอกสองกลีบมาเข้ามัดให้แน่น พันก้านด้วยฟลอราเทปจะได้ดอกแย้มขนาดเล็ก
-ใช้กลีบดอกเพิ่มมากขึ้นตามลำดับก็จะได้ดอกแย้มขนาดเล็ก  และใหญ่ตามลำดับ

เคล็ดลับ
1.    ถุงที่ใช้ทำกลีบดอกควรเป็นถุงที่ไม่ลื่นหรือมันวาวทั้งนี้เพื่อความอยู่ตัวของการอัดกลีบ
2.    การเข้ากลีบดอกแต่ละกลีบ จะต้องวางโคนกลีบดอกให้อยู่ในระดับเดียวกันทุกกลีบมัดให้แน่นทุกครั้งที่เข้ากลีบ
3.    รูปทรงของดอกขึ้นอยู่กับการดัดแต่งกลีบดอก  หากต้องการให้บานน้อยดัดกลีบดอกให้โค้งขึ้นด้านบน  หากต้องการให้บานมากดัดกลีบดอกให้โค้งลงด้านล่าง
4.    การเข้าช่อ หากต้องการให้ช่อยาวให้ส่งก้านดอกให้ยาวขึ้น เว้นระยะห่างระหว่างดอกให้ยาวมากขึ้น